[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.9
โรงเรียนบ้านกลาง นาแห้ว
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 3 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
ข้อมูลผู้บริหาร
หมวดหมู่ blog
ข้อมูลเพิ่มเติม
 
ค้นหาจาก google

 

  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
รู้จักไหม? “ลูกหม่อน” (Mulberry)  VIEW : 32    
โดย 123

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 2597
ตอบแล้ว :
ระดับ : 41
Exp : 46%
ออฟไลน์ :
IP : xxx

 
เมื่อ : เสาร์์ ที่ 8 เดือน กรกฏาคม พ.ศ.2566 เวลา 08:43:31    ปักหมุดและแบ่งปัน

รู้จักไหม? “ลูกหม่อน” (Mulberry) ช่วยลดน้ำตาลในเลือด-ป้องกันมะเร็ง

เคยได้ยินประโยคที่ว่า “ปลูกหม่อน เลี้ยงไหม” กันไหมคะ เคยสงสัยกันหรือเปล่าว่า “หม่อน” ที่ว่าคืออะไร มันคือใบหม่อนที่เคยมีการส่งเสริมให้ปลูกกันถามภาคเหนือ โดยเฉพาะหมู่บ้านชาวเขา ที่จะนำใบหม่อนมาใช้เป็นอาหารของหนอนไหม แต่หม่อนไม่ได้มีประโยชน์แค่ใบเท่านั้นนะคะ ลูกหม่อน หรือชื่อภาษาอังกฤษแบบไฮโซๆ เรียกว่า Mulberry ก็มีประโยชน์ดีๆ ไม่แพ้กัน

รู้จักไหม? “ลูกหม่อน” (Mulberry) ช่วยลดน้ำตาลในเลือด-ป้องกันมะเร็ง

1. ช่วยบำรุงหัวใจ

2 ดับร้อน ทำให้ชุ่มคอ บรรเทาอาการกระหายน้ำ

3. อุดมไปด้วยแร่ธาตุ และกรดโฟลิก เหมาะแก่มารดาที่กำลังตั้งครรภ์

4. มีสารต้านอนุมูลอิสระ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง

5. ลดน้ำตาลในเลือด เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน

6. ผลหม่อนต้ม ช่วยแก้โรคไขข้ออักเสบ

7. มีวิตามินบี 6 ช่วยบำรุงเลือด ตับ และ ไต

8. ลดการเกิดสิว และปวดประจำเดือน

9. มีวิตามินซีสูง ป้องกันโรคหวัด ภูมิแพ้ และปอด

10. แก้อาการท้องผูก เพราะเป็นยาระบายอ่อนๆ

11. มีวิตามินเอ ช่วยบำรุงสายตา ป้องกันการเกิดต้อกระจก

12. แก้อาการเมาค้าง ผ่อนคลายความเครียด

13. ช่วยบำรุงเส้นผมให้ดกดำ สุขภาพดี ป้องกันผมหงอกก่อนวัย

หม่อนสามารถปลูกได้เองที่บ้านนะคะ ไม่ยาก แถมนอกจากผลแล้ว ตัวใบเองยังเป็นสมุนไพรที่ดี ทำประโยชน์ได้อีกเยอะ ใครอยากลองทานหม่อนลองหาซื้อทานกันดูนะคะ

ขอบคุณรูปภาพจาก : pexels.com

ขอบคุณแหล่งที่มา : sanook.com


ติดตามข่าวสาร ได้ที่  : thaigoodherbal.com





Power by : ATOMYMAXSITE 2.9
โรงเรียนบ้านกลาง นาแห้ว หมู่8 ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย สพป.ลย3
webmaster โรงเรียนบ้านกลาง นาแห้ว หมู่8 ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย สพป.ลย3@2010-2011 under GNU General Public License Edit&Applied by Chudsagorn phikulthong